วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

โครงงาน Power Point มหัศจรรย์


คลิปที่1 แนะนำการใช้โปรแกรม PowerPointและ โปรแกรม Gsp
โดย เด็กหญิง อมลรดา สุขไชย เลขที่26 ม.3/8



คลิปที่ 2 การใช้งานและการใช้ประโยชน์จากโปรแกรม power point
เด็กหญิง พิมพ์พิศา  โสภากันต์

คลิปที่3 การใช้โปรแกรมGsp
โดย เด็กหญิง ณัฏฐณิชา สารทอง เลขที่11 ม.3/8



คลิปที่4ประยุกต์ใช้โปรแกรมPowerPointและ โปรแกรม Gsp นำเสนอ
โดย เด็กหญิง นัทชลิดา น่ารัก เลขที่18 ม.3/8






                                                                                      คลิปที่5 การนำไปใช้ประโยชน์
                                                                       โดย เด็กหญิง อัจฉรา ชินวรรณะ เลขที่43 ม.3/8










สมาชิกในกลุ่ม
1. เด็กหญิง ณัฏฐณิชา สารทอง เลขที่11
2. เด็กหญิง พิมพ์พิศา โสภากันต์ เลขที่12
3. เด็กหญิง นัทชลิดา น่ารัก เลขที่18
4. เด็กหญิง อมลรดา สุขไชย เลขที่26
5.เด็กหญิง อัจฉรา ชินวรรณะ เลขที่43
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/8

วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556

เข้าค่ายหรรษาประชาธิปไตย




วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ.2556

ติว O-NET วิชาคอมพิวเตอร์


สรุปความรู้เรื่องวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ


ระบบดิจิตอลและระบบอนาล็อก คือ สัญญาณประเภทหนึ่ง (โทรศัพท์)
(ระบบดิจิตอลในประเทศไทยมีระบบแบบ 3G)
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 Input - Process - Output
Input = นำข้อมูลเข้า
Process = ประมวลผล
Output = แสดงผลข้อมูล

ระบบของคอมพิวเตอร์
Software = ชุดคำสั่ง
Hardware = อุปกรณ์เกี่ยวกับทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
Data = ข้อมูล
Software มี2 ประเภท ได้แก่1.Software ระบบ  System เช่น Window Andriod IOS IE Chome
2.Software ระบบ  Application คือ โปรแกรมที่จัดทำขึ้นเพื่อสนองความต้องการของโปรแกรมนั้นๆ เช่น Game

ภาษาของคอมพิวเตอร์
 ภาษาของคอมพิวเตอร์ มี 3 ระดับ ได้แก่
1.ต่ำ 2. กลาง 3. สูง
ตัวอย่างของภาษาระดับต่ำ
เป็นเลขฐาน ประกอบด้วย  เลขฐาน 2เลขฐาน 10 เลขฐาน8เลขฐาน 16
 ฐาน2 จะแปรเป็นคำสั่งให้ Hardware ทำงาน ฐาน2 ประกอบด้วย 0,1
ฐาน8 ประกอบด้วย 0-7 ,0,1,2,3,4,5,6,7
ฐาน 16 ประกอบด้วย 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 แล้วจะประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ A,B,C,D,E,F จะเห็นได้จากหมวดกราฟิก
ความรู้เพิ่มเติม
การแปลงเลขฐาน 2และฐาน10

             การแปลงเลขฐานสองกลับเป็นเลขฐานสิบต้องอาศัยค่าประจำหลักของแต่ละบิตในเลขฐานสองที่ต้องการแปลง โดยเราจะแยกตัวเลขในแต่ละบิตมาคูณด้วยค่าประจำหลักแล้วนำผลลัพธ์จากการคูณดังกล่าวมารวมกัน จะได้เลขฐานสิบที่มีค่าตรงกับเลขฐานสองดังตัวอย่างต่อไปนี้
 ตัวอย่างที่ 1 แสดงการแปลงเลข 100012 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ
100012
= (1 x 24) + (0 x 23) + (0 x 22) + (0 x 21) + (1 x 20)
= 16 + 0 + 0 + 0 +1
= 17
ตัวอย่างที่ 2 แสดงการแปลงเลข 1001112 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ
1001112
= (1 x 25) + (0 x 24) + (0 x 23) + (1 x 22) + (1 x 21) + (1 x 20)
= 32 + 0 + 0 + 4 + 2 + 1
= 39
) + (� n 2 ) �cs @w 1) + (1 x 20)

= 16 + 0 + 0 + 0 +1

= 17


ตัวอย่างที่ 2 แสดงการแปลงเลข 1001112 ให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ

1001112
= (1 x 25) + (0 x 24) + (0 x 23) + (1 x 22) + (1 x 21) + (1 x 20)

= 32 + 0 + 0 + 4 + 2 + 1

= 39

วันเสาร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2556

วันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2556